Logo nipponnotsubo
ad head

Google
WWW を検索 nipponnotsubo.com を検索
facebooklogo
twitter
youtube
mixi
gree
niconico
หน้าแรก ความบันเทิง วัฒนธรรม ไลฟ์สไตล์ สังคม เทคโนโลยี แฟชั่น ธุรกิจ

ญี่ปุ่นใคร่ครวญถึงสมัยโจกันเมื่อ1150ปีก่อนที่จะพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์


jyougan

"แผ่นดินในจังหวัดมุตสึสั่นไหวอย่างรุนแรง ซึนามิที่ข้ามมาหลายร้อยกิโลเข้าโจมตี ผู้คนมากกว่า1000คนจมน้ำตาย" ได้มีการบันทึกการเกิดแผ่นดินไหวสมัยโจกังทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นเมื่อราว1150ปีก่อน ทั้งยังเกิดซึนามิขนาดใหญ่ มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากลงใน "นิฮงซังไดจิโรคุ" ซึ่งถูกเขียนขึ้นในสมัยเฮอัน(ปี794-ปี1192)

การที่ซึนามินี้เป็นซึนามิขนาดใหญ่มหาศาลระดับเกือบจะเทียบเท่ากับภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่ทิศทางตะวันออกของญี่ปุ่นนั้นถูกสนับสนุนจากสำรวจร่องรอยหลักฐานอย่างละเอียดของมหาวิทยาลัยโทโฮคุและสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมขั้นสูงแห่งญี่ปุ่น(AIST) นอกเหนือจากเทปโก

ตามรายงานที่AISTได้ลงไว้เมื่อฤดูใบไม้ผลิปีที่แล้ว แผ่นดินไหวสมัยโจกังเป็นแผ่นดินไหวรุนแรงมากกว่าแมกนิจูด(M)8.3-8.4ซึ่งจุดเกิดแผ่นดินไหวอยู่ที่ทะเลที่ไกลจากฝั่งของจังหวัดฟุกุชิมะกับจังหวัดมิยางิ และเนื่องจากแผ่นดินไหวนี้ ซึนามิลูกใหญ่จึงเข้ามาบนแผ่นดินที่อยู่ห่างจากชายฝั่งของที่ราบเซนไดมากกว่า4กิโล แม้แต่ที่เมืองมินามิโซมะ จังหวัดฟุกุชิมะก็รับผลกระทบไปถึง1.5กิโล

ตามผลสำรวจในระยะนี้ของมหาวิทยาลัยโทโฮคุ มีการยืนยันถึงการที่เกิดซึนามิซึ่งมีขนาดเดียวกันนอกจากแผ่นดินไหวสมัยโจกังซึ่งเกิดขึ้นในที่ราบเซนไดขึ้น2ครั้งในอดีตระยะเวลา3000ปี สัญญาณเตือนภัยถูกทำให้ดังหลายครั้งตามประชุมสัมมนาวิชาการ เกี่ยวกับซึนามิขนาดใหญ่เมื่อสมัยก่อนนี้ แต่ทว่า เรื่องนั้นก็ไม่เคยถูกคิดไตร่ตรองจากทั้งการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ของเทปโกและรัฐบาลเลย

บริษัทเทปโกอธิบายวิธีคิดว่า"ความเสียหายจากแผ่นดินไหวสมัยโจกังไม่ได้พบเจอมาถึงขนาดนั้น สัดส่วนความเสียหายซึ่งควรสมมติจากโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะไดอิจิ แค่สมมติสัดส่วนของแผ่นดินไหวทะเลชิโอยะซากิเมื่อปี1930ก็เพียงพอแล้ว"

เคยยึดติดกับคำที่ว่ามันจะไม่มาถึง

"หากอ้างอิงจากการวิจัยของAIST ก็จะสามารถคาดคะเนถึงซึนามิที่เกินการสมมติ เทปโกและประเทศควนจะพิจารณาอย่างจริงจัง" ดร.โรเบิร์ต เกลเลอร์จากมหาวิทยาลัยโตเกียวกล่าวไว้ และยังชี้ให้เห็นอีกด้วยว่า "อุบัติเหตุโรงงานนิวเคลียร์ในครั้งนี้คือภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์"

แผ่นดินไหวที่มากกว่าM9 อุบัติขึ้น4ครั้งบนโลกใบนี้ในช่วงเวลา60ปีจนถึงปี2009 กล่าวว่า "ในปี2004 เคยเกิดแผ่นดินไหวสุมาตราอันดามันด้วย ดังนั้นจึงสมควรคิดพิจิราณาได้ว่าแผ่นดินไหวครั้งใหญ่และซึนามิมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นทุกเวลา และทุกที่"

เหล่าผู้ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทเทปโกเคยยึดติดกับอคติที่ว่า "แค่ทำให้สอดรองรับกับแผ่นดินไหวทะเลชิโอยะซากิก็เพียงพอแล้ว" "ความน่ากลัวของซึนามิคือชายฝั่งเว้าแหว่งที่ชายฝั่งซังริคุ ซึ่งไม่ใช่แนวชายฝั่งที่เป็นเส้นตรงที่อยู่ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ" และไม่มีวี่แววว่าจะแก้ไขรับมือกับซึนามิอย่างกระตือรือร้น

ตัวอย่างประวัติศาสตร์ของซึนามิและแผ่นดินไหวในอดีตที่ไม่หลงเหลืออยู่ยังมีอื่นๆอีก รายงานที่กระทวง เศรษฐกิจอุตสาหกรรม รัฐบาลญี่ปุ่นเขียนขึ้นนั้นได้คาดคะแนเอาไว้ว่าความเสียหายจากซึนามิ ทำให้การสร้างทำนบกั้นคลื้นความสูง13เมตรที่โรงไผผ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ หมายเลข2,3เป็นข้อเสนอสนับสนุนการสรุปสมมุติฐาน สมมติในกรณีที่คลื่นซึนามิความสูง15เมตรเข้าโจมตีที่นั่น ก็จะสูญเสียแหล่งกำเนิดไฟฟ้าทั้งหมดรวมถึงแหล่งกำเนิดไฟฟ้าใช้ฉุกเฉิน, แหล่งกำเนิดไฟฟ้าภายนอก หน้าที่การทำงานแช่เย็นจะหยุดชะงัก ปฏิกิริยาฟิวชั่นจะเสียหาย100%

การป้องกันอุบัติเหตุทั้งหมด ยากในด้านของค่าใช้จ่าย

ทว่า ทำนบกลั้นคลื่นของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ ความสูงเฉลี่ยเพียง5.5เมตรน้อยกว่าครึ่งของความสูงที่กระทรวงเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเคยทำเป็นข้อเสนอสนับสนุนการสรุปสมมุติฐาน ความสูงของซึนามิที่เข้าถล่มโจมตีจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในครั้งนี้สูงถึง15เมตร ตามข้อมูลการวิเคราะห์แยกแยะของNuclear and Industrial Safety Industrial Safety Agency(NISA)ของกระทวงเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกิชิมะไดอิจิหมายเลข1นั้น ความเสียหายปฏิกิริยาฟิวชั่นได้เริ่มขึ้นมามากกว่า2ชั่วโมงภายหลังซึนามิเข้าโจมตี และภาชนะรับความดันก็พังเสียหายเฉลี่ย4ชั่วโมง สถานการณ์ที่รายงาน2ฉบับได้คาดคะเนไว้ ถูกกลับมาทำใหม่อีกครั้ง

เทปโกอธิบายว่า "จะให้ความสำคัญกับความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดขึ้น ไม่มีเวลามากพอที่จะไปจัดการรองรับกับซึนามิลูกใหญ่" วิทยากรสึกิยามะจากสถาบันวิจัยพลังงานปรมาณูมหาวิทยาลัยคินขิพูดว่า "การที่จะป้องกันอุบัติเหตุทั้งหมด และคุ้มกันภัยพิบัติที่มีอัตราการเกิดขึ้นต่ำมากนั้นมันยากในด้านของค่าใช้จ่าย แต่ว่า ก็มีความเป็นไปได้ในการพยายามที่จะทำให้ความเลวร้ายน้อยลงที่สุดเมื่อคิดหลังจากการเกิดอุบัติเหตุ"

การไม่คิดสานต่อการรับมือกับปัญหานั้นไม่ใช่ในด้านเศรษฐกิจ แต่ก็มีอีกด้านหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์กับท้องถิ่น หลังปี2002การตรวจตราการแก้ไขปลอมแปลงข้อมูลและการปกปิดปัญหาอย่างเช่นเช่นโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ไดอิจิก็ตามมาเป็นลำดับ เพราะหากพูดถึงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงงานไฟฟ้า ข้อเสนอสนับสนุนการสรุปสมมุติฐานที่อธิบายว่า "ปลอดภัย"ในท้องถิ่นก็พังทลายลง

และยังมีอีกด้านหนึ่งที่เสียงจากสถานที่เกิดเหตุส่งไปไม่ถึง พนักงานบริษัทเทปโกในช่วงวัย40ซึ่งทำหน้าที่เป็นพนักงานขับรถของโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ไดอิจิได้ให้การ "ตั้งแต่ก่อนเกิดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวที่สถานที่เกิดเหตุนี้ รับรู้ได้ถึงอันตรายจากการสูญเสียแหล่งกำเนิดไฟฟ้าทั้งหมด และแหล่งกำเนิดไฟฟ้าใช้ฉุกเฉินถูกแช่ไปด้วยน้ำเพราะซึนามิ"

นายคาอิเอดะ รมว.เศรษฐกิจอุตสาหกรรมพิจารณาตัวเองว่า "เคยเชื่อมั่นว่าพลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์(ของญี่ปุ่น)ปลอดภัยที่สุดในโลก" เกี่ยวกับประเทศที่ไม่เคยพัฒนามาตรการรับมือกับซึนามิ (หนังสือพิมพ์โยมิอุริ)




日本は原子力発電所の開発に際して、1150年前の貞観(じょうがん)を考慮しなかった

「陸奥(むつ)の国の地が大いに振動する。数百キロに渡って津波が襲う。1000人以上が溺死した」。平安時代(794年―1192年)に書かれた「日本三大実録(にほん・さんだい・じろく)」には、約1150年前に日本の東北地方で貞観(じょうがん)地震が起こり、大津波も発生して、多数の死者が出たことが記載さている。

この津波が、東日本大震災とほぼ同程度の巨大津波であったことは、東北電力の他に、東北大学、および政府の研究所である産業技術総合研究所(AIST)の詳細な痕跡調査によって裏付けされている。

AISTが昨年春国に出した報告書によれば、貞観(じょうがん)地震は、宮城県(みやぎけん)と福島県(ふくしまけん)の沖を震源とするマグニチュード(M)8.3―8.4以上の巨大地震だった。この地震にともなって、大津波が仙台平野(せんだい・へいや)の内陸側4キロ以上まで入ってきた。福島県南相馬市(ふくしまけん・みなみそうまし)でも1.5キロ遡上した。

東北大学の最近の調査によると、仙台平野では、貞観地震の他にも同規模の津波が、過去3000年間に2度あったことが確認された。この過去の巨大津波に関して、学会などを通じて何度も警鐘が鳴らされてきた。しかし、それが政府や東京電力の原子力開発で考慮されたことはなかった。

東京電力は、「貞観地震の被害はそれほど見あたらない。福島第一原発で想定すべき被害規模は、1930年代の塩屋崎沖(しおやざきおき)地震(M7.9)の規模を想定すれば十分」との考え方を説明していた。

来ないという先入観にとらわれていた

「AISTの研究を参考にしていれば、想定を超える津波は予想できた。国や東電は真剣に考えるべきだった」と言うのは東京大学のロバート・ゲラー博士だ。そして、「今回の原発事故は人災だ」と指摘する。

 M9以上の地震は、2009年までの60年間に世界で4回発生している。「2004年にはスマトラ沖地震も発生しており、巨大地震と津波はどこでも、いつでも起こり得ると考えるべきだった」と語る。

東京電力の関係者たちは、「塩屋崎沖(しおやざきおき)地震に対応していれば十分」「津波が恐いのは、三陸地方のリアス式海岸であって、福島原発のある直線の海岸線ではない」という先入観にとらわれていた。そして、真摯に津波対策に取り組む雰囲気はなかった。

過去の地震と津波の歴史が生かされなかった例は他にもある。日本政府・産業経済省が書いた報告書では、福島第一原発2、3号機に高さ13メートルの防波堤を築くことを前提として、津波の被害を予測していた。そこにもし高さ15メートルの津波が襲った場合、外部電源、非常用電源を含めて全ての電源が失われ、冷却機能が停止して、炉心は100%が損傷する。

すべての事故を防ぐのは、コスト面で難しい

ところが、福島第一原発の防波堤は、経済産業省が前提としていた高さの半分以下の約5.5メートルしかなかった。今回の大地震で襲った津波は高さが15メートルに達した。経済産業省の原子力安全・保安院の解析データによれば、福島第一原発1号機は、津波襲来後2時間あまりで炉心損傷が始まり、約4時間で圧力容器が破損。まさに2種類の報告書が予測した事態が、そのまま再現された。

東京電力は、「発生確率の高いものを優先し、大津波の対応に手が回らなかった」と説明する。近畿(きんき)大学原子力研究所の杉山(すぎやま)講師は、「発生確率のきわめて低い災害に備えて、すべての事故を防ぐのはコスト面で難しい。しかし、事故後を考えて悪化を最小限に抑える努力は可能だった」と話す。

対策に後ろ向きなのは経済的側面がかりではない。地元との信頼関係を優先した側面もある。2002年以降、福島第一電発などでトラブル隠しや点検データ改ざんが相次いだ。原発の改修、補修を行えば、地元に「安全」と説明した前提が崩れるからだ。

現場の声が届かなかった側面もある。福島第一原発の運転員を務める40代の東京電力社員は「現場では震災前から、津波で非常用の電源が水につかり、全電源喪失の危険があるという認識があった」と証言する。

海江田(かいえだ)経済産業相は、津波対策を国が進めて来なかったことについて「(日本の)原発は世界一安全だと、信じ込んでいた」と反省する。(よみうりしんぶん)

右上大型広告

ไปญีปุ่น

เที่ยวญี่ปุ่น
เรียนที่ญี่ปุ่น
ฝึกงานที่ญี่ปุ่น

กิจกรรมเกี่ยวกับญี่ปุ่น

เรียนภาษาญี่ปุ่นที่มหาวิทยาลัยในไทย
เรียนภาษาญี่ปุ่นที่โรงเรียนสอนภาษา
กินอาหารญี่ปุ่น

งานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่น

รับสมัครพนักงานบริษัทญี่ปุ่น
รับสมัครพนักงานจากบริษัทจัดหางาน
งานล่าม・แปลภาษา

บอร์ดแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับญี่ปุ่น

facrebookของนิปปอน โนะ ซึโบ๊ะ
ข้อมูลงานเลี้ยงรุ่นที่เกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
ลิงค์ข่าวสาร
Copyright © 2011 Nipponnotsubo.Inc.
All Right Reserved.
nipponnotsubo@gmail.com
nipponnotsubo@hotmail.com