Logo nipponnotsubo
ad head

Google
WWW を検索 nipponnotsubo.com を検索
facebooklogo
twitter
youtube
mixi
gree
niconico
หน้าแรก ความบันเทิง วัฒนธรรม ไลฟ์สไตล์ สังคม เทคโนโลยี แฟชั่น ธุรกิจ

การจับเหยี่ยว ความสงสัยการจับสัตว์ที่หายาก การค้นหาบ้านของผู้ชายในเมืองคานิ

ootaka

ตอนกลางของประเทศญี่ปุ่น ตำรวจจากจังหวัดไอจิ สงสัยถึงการจับสัวต์ชนิดที่หายากอย่างเช่น เหยี่ยวชนิดหนึ่ง ซึ่งได้มีกลุ่มผู้ชอบล่าสัวต์ได้เข้าไปล่าเหยี่ยวที่จ.ไอจิ และจ.กิฟุ แล้วก็บ้านผู้ชาย ๒ คนในฐานะมือโปรในการเลี้ยงเหยี่ยว(ผู้ที่ใช้เหยี่ยวในการล่าสัตว์) ซึ่งเหยี่ยวทั้งหมดที่เลี้ยงไว้คือ เหยี่ยวที่ใช้ล่าสัตว์ 5ตัว และเหยี่ยวธรรมดาอีก 7ตัว "ผู้ต้องสงสัยเกี่ยวกับการละเมิดเลี้ยงสัตว์สงวน"

ตำรวจ จ.ไอจิได้พิจารณาวิเคราะห์ว่า พวกผู้ชายที่คิดว่าได้นำไข่กับลูกๆ จากรังในป่ากลับออกมา นกเหล่านั้นเนี่ยจะเป็นของญี่ปุ่นจริงหรือไม่

เมื่อเร็วๆนี้ที่ญี่ปุ่น การเลี้ยงนกที่ใช้ล่าสัตว์ไม่ว่าจะเป็นนกฮูกหรือเหยี่ยว กำลังเป็นที่นิยม ในการเลี้ยงเหยี่ยว (การใช้เหยี่ยวเพื่อจับนกอื่น) มีคนจำนวนมากที่คาดหวังที่อยากจะเลี้ยงเหยี่ยวของญี่ปุ่น แต่ว่า การจับเหยี่ยวของญี่ปุ่นได้ถูกห้ามไว้

มีผู้ชายสองคน "เขาได้เลี้ยงดูเหยี่ยวด้วยตัวของพวกเขาเอง เพิ่งจะประมาณสองปีที่แล้วเอง นกจากนั้นตอนเล็กๆเหยี่ยวก็ได้รับบาดเจ็บบ้าง มีอาการอ่อนแอบ้าง คนที่มีความรู้และโรงพยาบาลสัตว์ก็จะถูกขอร้องให้มาช่วยดูแลด้วยบ้าง และได้อธิบายไว้ว่า"ได้เลี้ยงดูอนุรักษ์ไว้เพื่อให้ได้กลับไปอยู่ในป่า" นอกจากนี้ ในการเลี้ยงดูสัตว์ ความจำเป็นของจังหวัดในการอนุญาติไม่ให้จับเหยี่ยวคือความผิดพลาดของตัวเอง แต่ได้เน้นไว้ว่า ไม่ให้ลักลอบจับสัตว์

เกี่ยวกับความนิยมในการเลี้ยงเหยี่ยวพันธุ์ที่ค่อนข้างดุ "สมาคมนกป่าของญี่ปุ่น"คุณฟุคุอิ ทสึโยชิ ผู้อำนวยการบริหารองค์กร "เมื่อเร็วๆนี้คนที่อยากเลี้ยงสัตว์ที่แตกต่างจากตัวอื่นๆได้เพิ่มมากขึ้น นั้นคือเบื้องหลังที่ได้พูดคุยกัน และก็"ผู้ที่ใช้เหยี่ยวในการจับสัตว์ก็มีเพิ่มจำนวนมากขึ้นด้วย" ญี่ปุ่นในสมัยก่อนสำหรับคนที่เรียนรู้ศิลปะในการเลี้ยงเหยี่ยว คนที่อยากเลี้ยงเหยี่ยวของญี่ปุ่นมีจำนวนมาก"

เหยี่ยวในป่าของญี่ปุ่น ยกเว้นจุดประสงค์ในการวิจัยแล้วได้ห้ามการจับไว้ด้วย ด้วยเหตุนี้ จริงๆแล้วเหยี่ยวของญี่ปุ่น สำหรับคนอื่นๆก็คือ "เหยี่ยวที่นำเข้ามาจากคนต่างชาติ"ดูเหมือนว่าคนที่หลอกว่าเลี้ยงเองก็มี แต่ว่า เหยี่ยวที่เกิดในญี่ปุ่นและต่างประเทศ เนื่องจากยากที่จะแยกถึงความแตกต่าง คนที่จะสามารถประเมินได้เลยค่อนข้างที่จะมีน้อย สมาคมนกป่าของญี่ปุ่นได้พูดไว้ว่า" ทั้งพวกเรา และความสามารถที่มีจำกัด จึงต้องการความรวมมือกันในการสืบสวน"

ในอีกด้านหนึ่ง สำหรับสัตว์เลี้ยง จากการเลี้ยงดูของเหยี่ยวที่เกิดในต่างประเทศ ได้เกิดปัญหาใหม่ขึ้นมา. การฝึกสัตว์ที่ไม่เพียงพอ และการหนีไปของกรณีสัตว์ที่เกิดในต่างประเทศที่เกิดขึ้นในญี่ปุ่น การผสมพัธุ์ของเหยี่ยวญี่ปุ่นเพื่อสร้างลูกเหยี่ยวขึ้นมา และความกังวลเกี่ยวกับการไปรบกวนระบบนิเวศ

สมาคมนกป่า ได้รายงานว่า "ที่สวนสาธารณะ ได้เห็นคนที่มีเหยี่ยวมาเกาะที่ไหล่ ไม่ก็ที่มือ" เลยอยากข้อร้องว่าไม่อยากให้เลี้ยงง่ายๆ และทำให้รู้สึกราวกับว่าเป็นหมาหรือแมวเลย




オオタカを押収 希少種捕獲疑い、可児の男性宅捜索

日本の中部地方、愛知県の警察は、大鷹などの日本産の希少動物種を捕獲した疑いで、愛知県と岐阜県のタカ狩愛好家グループの家宅捜索を行った。そして、プロフェショナルとして鷹を飼う「鷹匠」の2人男性の自宅で、合計オオタカ(大鷹)5羽とハヤブサ7羽を押収した。 「種の保存法違反の容疑」。

愛知県警は、男たちが、山林の巣から、卵やヒナを持ち帰ったと考えて、これらの鳥が実際に日本産かどうかを鑑定する。

日本では近年、フクロウや鷹などの猛禽(もうきん)類の飼育がブームにっている。鷹を飼う「鷹匠(たかじょう)」の中には、日本産の鷹を飼いたいと希望する人が多い。しかし、日本産の鷹は捕獲が禁止されている。

二人の男は、「自分たちが飼育していた大鷹とハヤブサは、約2年前に巣立ったばかり。まだ小さい時に怪我をしたり、弱ったりした状態で、知人や動物病院から飼育を依頼された。野生に戻せるように保護していただけ」と説明。さらに「飼育するのに必要な県の許可を取っていなかったのは自分のミス。しかし、密猟はしていない」と強調した。

猛禽(もうきん)類の飼育ブームについて、「日本野鳥の会」の岐阜事務局長の福井強志(ふくい・つよし)さんは「近年は他人と違った動物を飼いたいという人が増えている」とその背景を語る。そして「鷹匠も増えている。日本古来の鷹狩り技術を学んだ人にとって、日本産の鷹を飼いたいという人は多い」と言う。

日本の野生の鷹は、研究目的など以外では捕獲が禁じられている。このため、本当は日本産の鷹なのに、他の人には「外国から輸入した鷹」と偽って飼っている人もいるようだ。しかし、日本産と外国産の鷹は、見分けが難しく、鑑定できる人は少ない。日本野鳥の会では、「我々も、できる限り、捜査に協力したい」と話している。

一方で、ペットとして飼う外国産の鷹による新たな問題も浮上している。調教が不十分で、逃がしてしまい、外国産が日本で野生化するケースだ。日本産の鷹と交尾して子供を作り、生態系を乱すことが懸念されている。

野鳥の会では、「公園で鷹を手や肩に乗せている人を見た、という報告もある。犬や猫のような感覚で、安易に鷹を飼わないでほしい」と呼び掛けている。

右上大型広告

ไปญีปุ่น

เที่ยวญี่ปุ่น
เรียนที่ญี่ปุ่น
ฝึกงานที่ญี่ปุ่น

กิจกรรมเกี่ยวกับญี่ปุ่น

เรียนภาษาญี่ปุ่นที่มหาวิทยาลัยในไทย
เรียนภาษาญี่ปุ่นที่โรงเรียนสอนภาษา
กินอาหารญี่ปุ่น

งานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่น

รับสมัครพนักงานบริษัทญี่ปุ่น
รับสมัครพนักงานจากบริษัทจัดหางาน
งานล่าม・แปลภาษา

บอร์ดแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับญี่ปุ่น

facrebookของนิปปอน โนะ ซึโบ๊ะ
ข้อมูลงานเลี้ยงรุ่นที่เกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
ลิงค์ข่าวสาร
Copyright © 2011 Nipponnotsubo.Inc.
All Right Reserved.
nipponnotsubo@gmail.com
nipponnotsubo@hotmail.com